วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

Google Apps ไม่ต้องจ่ายแพง กับระบบอีเมล์มาตรฐานสูง

เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ปัจจุบัน Email นั้นมีความสำคัญในการทำงานเป็นอย่างมาก หลายๆองค์กรจึงให้ความสำคัญในการเลือกใช้ Email ที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีอย่าง Google Apps ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการใช้งานค่อนข้างสูง แล้วจะทำอย่างไร ในเมื่อคุณมีพนักงานมากมายในองค์กร คงไม่สามารถใช้ Google Apps ทั้งองค์กรได้ เรามีทางออกให้คุณ

ระบบ Mail Server คุณภาพสูง ที่สามารถใช้งานร่วมกับ Google Apps 


อยากใช้อีเมล์มาตรฐานสูงโดยไม่ต้องจ่ายแพง

คุณสามารถใช้งาน Google Apps ร่วมกับ Email Hosting ธรรมดาได้ โดยแบ่งตามลักษณะการใช้งาน ดังนี้
  • Google Apps สำหรับผู้ที่ต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บข้อมูลสูง เช่น ระดับผู้บริหารขึ้นไป เป็นต้น
  • Email Hosting สำหรับผู้ทีไม่ค่อยได้ใช้เนื้อที่ในการเก็บข้อมูลมากนัก พนักงานทั่วไปเป็นต้น
วิธีการนี้ จะช่วยให้คุณประหยัดค่าใช้จ่ายและสามารถใช้อีเมล์ที่มีมาตรฐานได้พร้อมกัน



สามารถแยกกลุ่มผู้ใช้ตามลักษณะการใช้งาน ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย

ทั้ง 2 ระบบ ทำงานร่วมกันได้อย่างไร

  1. เมื่อมีอีเมล์ส่งเข้ามาจะผ่าน MX ที่ถูกตั้งค่าไว้แล้ว อีเมล์จะถูกส่งมายัง Mail Server ของ Google ซึ่งเป็นที่เก็บของผู้ใช้กลุ่มแรก
  2. อีเมล์ของกลุ่มที่สองนั้นจะถูกส่งต่อไปยัง MX ที่ตั้งค่าไว้ให้ไปยัง Mail Server ของ Email Hosting
นื่คือการทำงานของระบบทั่วไป หากคุณเลือกใช้บริการจากเรา ระบบของคุณจะได้รับความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น


ปลอดภัยอย่างไร

ระบบของเราจะทำการตรวจจับ Spam ก่อนนำส่งไปยัง Mail Server  อีเมล์ที่มี Spam จะไม่สามารถเข้าไปยัง Mail Server ได้ ส่วนอีเมล์ที่ไม่มี Spam จะเข้าไปอยู่ใน Mail Server ได้ตามปกติ



บริษัท เทคโนโลยีแลนด์ จำกัด

ผู้ให้บริการ Mail Server คุณภาพสูง ที่สามารถใช้งานร่วมกับ Google Apps

ทำไมต้องมี NS มากกว่า1ตัว


ในการเข้าดูเว็บไซต์ในแต่ละครั้งจะต้องผ่านกระบวนการในการเรียกเพื่อแสดงข้อมูลดังนี้

พิมพ์เว็บไซต์ที่ต้องการเข้า เช่น www.abc.com แล้วกด enter จากนั้น ISP (ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต) จะวิ่งไปหา NS (Name Server) และไปยัง DNS (Domain Name Server) ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวม IP ของเว็บไซต์ที่เราต้องการเข้า เมื่อได้ค่า IP ที่ต้องการแล้ว ก็จะสามารถเข้าถึงหน้าเว็บไซต์และแสดงผลมายังหน้าจอของผู้ใช้ได้


ภาพแสดงผล กรณีที่ NS1 สามารถใช้งานได้ปกติ ไม่ล่ม




ดังนั้น หมายความว่า NS (Name Server) นั้น มีความสำคัญ หากNS (Name Server)]ล่ม ก็จะไม่สามารถเข้าถึงเว็บไซต์ได้ นี่จึงเป็นเหตุผลว่าเหตุใด จึงควรมีมากกว่า 1 ตัว หากตัวที่1ล่ม ก็ยังมีตัวที่2 ที่สามารถทำงานแทนตัวที่1ได้ ทำให้เราเข้าถึงเว็บไซต์ได้ตามปกติ


ภาพแสดงผล กรณีที่ NS1 ไม่สามารถใช้งานได้ ISP จะเรียกใช้ NS2 แทน


บทความที่เกี่ยวข้อง


บทความโดยบริษัท เทคโนโลยีแลนด์ จำกัด
ผู้ให้บริการ Mail Server สำหรับธุรกิจอันดับ 1 ของไทย


MX มีความสำคัญอย่างไร ? ทำไมต้องมีหลายตัว

MX คืออะไร ? 


MX คือค่าที่จะชี้ทางให้กับ Email ที่ถูกส่งมาว่าควรไปอยู่ที่ใด ตามแผนภาพ ดังนี้


ภาพอธิบายการทำงานของ mx ใน dns


เมื่อ Email ถูกส่งมาจะวิ่งไปที่ Domain Name ผ่าน NS(Name Server) และไปยัง DNS(Domain Name Server) เพื่อหาค่า Priority ซึ่งเป็นตัวกำหนดความสำคัญ ยิ่งมีค่าน้อยก็ยิ่งมีความสำคัญมาก แล้วMX จะเป็นตัวชี้ว่า Email ฉบับนั้นๆ จะต้องนำไปจัดเก็บที่ใด 


เรามาดูภาพการทำงานของ Priority และ MX อย่างชัดเจน
นี่คือการทำงานของระบบที่มี MX ค่าเดียว Email สามารถเข้าสู่ Mail Server ได้ตามปกติ


ภาพการทำงานเมื่อมี mx ค่าเดียว

แต่เมื่อ Mail Server ของ Priority 5 ล่ม Email จะไม่สามารถเข้าสู่ Mail Server ได้ และเราจะไม่ได้รับ Email ฉบับนี้
ภาพการทำงาน ในกรณีที่มี mx ค่าเดียว และ mail server ล่ม


ด้วยเหตุนี้ผู้ให้บริการ Email Hosting ที่มีมาตรฐาน จะมี MX หลายค่า เพื่อรองรับกรณีที่ Mail Server ของตัวหลักล่ม Email จะวิ่งเข้าหา Priority ที่มีความสำคัญรองลงมาจากอันดับแรกแทน ทำให้ Email ที่ส่งมานั้น ไม่ตกหล่น 
ภาพการทำงาน เมื่อมี mx หลายค่า จะทำให้ไม่มีผลกระทบ เมื่อ mail server หลักล่ม

บทความที่เกี่ยวข้อง


บทความโดย



วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ใครๆก็ใช้ อีเมล์องค์กร คุณล่ะใช้อีเมล์อะไร ?

อีเมล์องค์กร เคล็ดลับง่ายๆในการเพิ่มภาพลักษณ์ทางธุรกิจ

หลายๆคนอาจสงสัยว่า อีเมล์องค์กรคืออะไร หน้าตาเป็นอย่างไร และมีประโยชน์อย่างไร วันนี้เรามีคำตอบให้คุณ

อีเมล์องค์กร คือ การใช้ระบบอีเมล์ที่เหมือนกันทั้งองค์กร โดยผ่าน "Email server" ฟังดูแล้วอาจจะยังนึกภาพไม่ออกว่าหน้าตามันเป็นอย่างไร คุณอาจจะคุ้นเคยกับฟรีอีเมล์ทั่วไป อย่างเช่น hotmail, gmail เป็นต้น แต่หน้าตาอีเมล์ขององค์กรนั้นจะเปลี่ยนจาก @gmail @hotmail เป็น@ชื่อองค์กรของคุณ.co.th/.comนั่นเอง
อีเมล์องค์กรแตกต่างกับฟรีอีเมล์อย่างไร


คำถามต่อมาคือหน้าตาก็คล้ายฟรีอีเมล์ทั่วไป แค่มีชื่อองค์กรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายทำไม เรามาดูประโยชน์ของอีเมล์องค์กรกัน


1.ฟรีอีเมล์ ใครๆก็มีได้ หากคุณต้องทำการติดต่อธุรกิจ คู่ค้าของคุณจะมั่นใจได้อย่างไรว่าคุณเป็นใคร มีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน แต่การใช้อีเมล์องค์กรในการติดต่อนั้น จะทำให้คู่ค้ามั่นใจมากขึ้นเพราะสามารถยืนยันตัวตนของคุณได้จริง

2. มีความสะดวก รวดเร็วว่องไว และมีความเสถียรในการรับส่งข้อมูล 

3. กรณีที่องค์กรของคุณมีหลายสาขา การใช้อีเมล์องค์กรจะทำให้การติดต่อระหว่างสาขาเป็นไปอย่างง่ายดาย รวดเร็ว ข้อมูลไม่ตกหล่น และสามารถแก้ไขเอกสารให้ถูกต้องก่อนพิมพ์หรือส่งต่อได้
อีเมล์บริษัทช่วยลดค่าใช้จ่ายได้อย่างไร


4. ลดปัญหาสแปมและไวรัสทางอีเมล์ได้อย่างดี

5. หากเกิดปัญหาในการใช้งาน คุณสามารถปรึกษาผู้ให้บริการของคุณให้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ ทำให้การทำงานของคุณไม่สะดุด 

6. การเลือกใช้บริการ mail server จากผู้ให้บริการที่มีมาตรฐาน จะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการทำงานในองค์กรเพิ่มขึ้น


บทความที่เกี่ยวข้อง



บทความโดย
บริษัท เทคโนโลยีแลนด์ จำกัด
ผู้ให้บริการ Mail Server ที่ดีที่สุดในประเทศไทย


วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2558

[Outlook] วิธีการตั้งค่า Rule ให้ Auto Forward อีเมล์ไปยังบัญชีอีเมล์อื่น

วิธีการตั้งค่า Rule ให้ Auto Forward บนโปรแกรม Microsoft Outlook

คลิกที่ File

เลือก Rules and Alerts

คลิก New Rule...

คลิกที่ Apply rule on messages I receive จากนั้นคลิก 'Next'

เลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ Rule ทำงาน กรณีนี้เราจะไม่เลือก หมายความว่า
อีเมล์ขาเข้าทุกฉบับจะทำงานตาม Rule นี้ทั้งหมด

คลิก 'Next'

จะมีหน้าต่างขึ้นมาถามว่าเราต้องการให้ Rule นี้ Run กับทุก Messages กด Yes เพื่อยืนยัน

เลือก Action: forward it to people or public group
และคลิกที่ 'people or public group' เพื่อเลือกบัญชีอีเมล์ปลายทาง

พิมพ์ชื่อ บัญชีอีเมล์ ปลายทาง ที่ต้องการให้ข้อความ Forward ไป
จากคลิกปุ่ม 'OK'

คลิก 'Next'

กรณีนี้เราจะ  Forward ข้อความทุกฉบับที่เข้ามาใน INBOX แบบไม่มีข้อยกเว้น จึงไม่ต้องเลือกว่าจะยกเว้นในหัวข้อใด

คลิก 'Next'

Step 1: ตั้งชื่อ Rule เช่น Forward all messages to ....(Email address)
Step 2: เลือก Turn on this rule (เปิดให้ระบบ Rule run ตามที่ตั้งค่า)
ส่วนหัวข้อ Run this rule now on messages already in 'Inbox'
ไม่แนะนำเพราะว่าระบบจะทำการ Forward ทุกอีเมล์ที่อยู่ใน Inbox แล้วคลิกปุ่ม 'Finish'

คลิกปุ่ม 'OK'

เมื่อตั้งค่าเสร็จสิ้น ให้ทดสอบส่งข้อความเข้าหาตัวเองดู เริ่มเลย !

จะพบว่าเมื่อ อีเมล์ เข้ามาที่ Inbox จะทำการ Forward อีเมล์ฉบับนั้นทันที
และจะมีไอคอนสัญลักษณ์ ของ Forward Mail อยู่ที่ด้านข้างว่าได้ทำการ Forward แล้ว
นอกจากนั้นจะสังเกตได้ว่า ใน Sent items ก็จะมีข้อความที่ Forward ไปอีเมล์ปลายทางค้างอยู่ด้วย

เมื่อปลายทางได้รับอีเมล์ Forward จากเรา เขาจะเห็นว่า Sender จะเป็นชื่อเรา และเสมือนกดปุ่ม Forward  แล้ว Send อีเมล์เลย

แนะนำ MailDee.com ผู้ให้บริการอีเมล์โฮสติ้งที่ดีที่สุด




[Outlook] วิธี Import/Restore ไฟล์ PST ลงบน Outlook for Mac

วิธี Import/Restore ไฟล์ PST ลงบน Outlook for Mac

ก่อนอื่นเราจะต้อง Export/Backup ไฟล์จากโปรแกรม Microsoft Outlook ที่เป็น  Windows OS และนำไฟล์ PST มาไว้บนเครื่อง Mac เพื่อทำการ Import ไฟล์ในขั้นตอนต่อไปนี้


File -> Import

เลือก Outlook Data File (.pst or .olm) จากนั้นคลิกปุ่มลูกศรถัดไป

เลือก Outlook for Windows Data File (.pst) จากนั้นคลิกปุ่มลูกศรถัดไป

เลือกไฟล์ .pst จากนั้นคลิกปุ่ม Import

Importing your data

การ Import สำเร็จแล้ว คลิกปุ่ม 'Done'

Folder ที่ Import จะปรากฏที่ด้านซ้ายของโปรแกรม

บริษัท เทคโนโลยี แลนด์ จำกัด

ผู้ให้บริการอีเมล์โฮสติ้งคุณภาพสูง


[TL GoCloud][Spam panel] การตั้งค่า Block file บางชนิด (Attachment Restrictions)

การตั้งค่า Block file บางชนิด (Attachment Restrictions)


การ Block file บางชนิด มีความจำเป็นพอสมควร กรณีที่ไวรัสแฝงมากับอีเมล์ เราสามารถตั้งค่าในส่วนของ Attachment Restrictions ได้ เพื่อกรองประเภทของไฟล์ในชั้นแรก ก่อนทำการส่งอีเมล์ไปยัง Mailbox ของ Sender

วิธีการตั้งค่า


หลังจากที่ Admin ทำการ Log in ไปยังหน้า Spam Panel เรียบร้อยแล้ว

เลือก Attachment Restrictions

ในหัวข้อ Blocked extensions ให้กรอกชนิดของไฟล์ที่ต้องการ Block จากนั้นกด 'Add'

เมื่อกด Add แล้ว จะมีแถบสถานะขึ้นว่า Blocked extensions were successfully updated

นอกจากนี้เรายังสามารถตั้งให้ระบบบล็อคไฟล์แนบที่อันตรายได้ด้วยในหัวข้อ More options

เลือก Block dangerous attachments และกด Save

บทความที่เกี่ยวข้อง

ผู้ให้บริการระบบอีเมล์สำหรับองค์กร